บทความ

ภานุ สุขสวัสดิ์

สายพานลำเลียงและรถ agv

รูปภาพ
ระบบสายพานลำเลียง       ระบบสายพานลำเลียง Belt Conveyor System เป็นระบบสายพานลำเลียงที่เหมาะสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมผลิตชิ้นงาน ทุกชนิด ระบบสายพานลำเลียง  ( Belt Conveyor ) คือ อุปกรณ์ลำเลียง ( Conveyor ) ที่ใช้สายพาน (Belt) เป็นตัวนำพาวัสดุ  ระบบสายพานลำเลียง ทำหน้าที่เคลื่อนย้ายวัสดุจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง  หลังจากวัสดุหรือชิ้นงานผ่านกระบวนการตามขั้นตอนมา เมื่อมาถึงการขนย้ายหรือลำเลียงก็จะใช้ระบบสายพานลำเลียง (Belt Conveyor System) ในการเคลื่อนย้ายวัสดุหรือชิ้นงาน      ดังนั้น ระบบสายพานลำเลียงจึงเหมาะสำหรับ โรงงานอุตสาหกรรมทุกประเภท ที่ใช้ระบบสายพานลำเลียงในกระบวนการผลิต 1. ระบบสายพานลำเลียง Plastic Belt Conveyor System (แบบพลาสติก) ระบบสายพานลำเลียง Plastic Belt Conveyor System (แบบพลาสติก) สำหรับลำเลียงชิ้นงานหรือวัสดุขึ้นในแนวลาดเอียง ในไลน์การผลิตที่มีการลำเลียงต่างระดับ ระบบสายพานลำเลียงแบบพลาสติก สามารถลำเลียงผ่านน้ำหรือลำเลียงชิ้นงานที่เปียกได้ และยังไม่เป็นสนิท ลักษณะการทำงานของระบบสายพานลำเลียงแบบพลาสติก จะลำเลียงจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง โดยการลำเลียงจะมีลักษณะแนวลาดเอียง

สมาชิกในชั้นเรียนไฟฟ้า A

            ชื่อจริง                                    ชื่อเล่น                             เลขที่ นาย  สุรพิชญ์ ศรีสุวรรณ                                         ชาย                                       646715001 นาย สัณหวัช เพ็ชร์สวัสดิ์                                                    -                                                                646715002 นาย เฉลิมชนม์ แซ่เฮ                                         พีช                                        646715003 นาย อาดีนัน โสธามาต                                          ดีนจอ                                       646715004 นาย นัฐกิตย์ อ่อนยัง                                             ปิน                                            646715005    นาย ปฏิพัทธ์ หนูน้อย                                            อิ้งค์                                           646715006 นาย บัสซัมร์ เตะมัน                                                บัสซัม                                         646715007 นาย ศุภกฤต อุทัยพันธ์     

หุ่นยนต์ในงานอุตสาหกรรม

รูปภาพ
 1. หุ่นยนต์ที่นิยมใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม      ในภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทยมีการนำเทคโนโลยีและระบบอัตโนมัติ  เข้ามาใช้ในการผลิตสินค้ามากขึ้นเพื่อเพิ่มคุณภาพและมาตรฐานสินค้า ให้สามารถแข่งขันกับตลาดโลกได้ จะเห็นว่า หุ่นยนต์อุตสาหกรรม ที่ผลิตขึ้นมานั้นนำไปใช้ในอุตสาหกรรมที่หลากหลายมาก  ซึ่งจะต้องเข้าใจในที่นี้ว่า หุ่นยนต์อุตสาหกรรม ตามความหมายของสถาบันหุ่นยนต์อเมริกา (The  Robotics Institute  of America) ได้ให้ความหมายของหุ่นยนต์ว่า  “หุ่นยนต์ คือ เครื่องจักรที่ถูกออกแบบให้สามารถทำงานได้หลากหลายหน้าที่เพื่อใช้ เคลื่อนย้ายวัสดุ  ชิ้นงาน  เครื่องมือ  หรืออุปกรณ์พิเศษ ผ่านโปรแกรมควบคุมการเคลื่อนที่ต่างๆ สำหรับงานต่างๆ ที่หลากหลายอย่างมีประสิทธิภาพ”  หรือ  “หุ่นยนต์ คือ เครื่องจักรกลทุกชนิดที่ออกแบบมาให้สามารถทำงานแทนมนุษย์ได้ทุกประเภทที่มนุษย์ไม่สามารถปฏิบัติงานได้ และเป็นการทำงานอัตโนมัติ สามารถทำงานในรูปแบบที่ซับซ้อนและมีความยึดหยุ่น”  ข้อดีของการใช้หุ่นยนต์มาทำงานเพื่อให้มีประสิทธิภาพ  มีดังนี้ หุ่นยนต์มีความแม่นยำและความเที่ยงตรงในการทำงาน  หุ่นยนต์มีความสามารถในการทำงานในกระบวนการซ้ำๆ ได้

ข้อมูลของเครื่องจักร ทั้ง 3 ประเภท 1.NC 2.CNC 3.DNC

รูปภาพ
เครื่องจักร NC       NC  คือ     การควบคุมเครื่องจักรกลด้วยระบบตัวเลขและตัวอักษร  ซึ่งคำจำกัดความนี้ได้จากประเทศสหรัฐอเมริกา  กล่าวคือ  การเคลื่อนที่ต่าง ๆ  ตลอดจนการทำงานอื่น ๆ  ของเครื่องจักรกล  จะถูกควบคุมโดยรหัสคำสั่งที่ประกอบด้วยตัวเลข  ตัวอักษร  และสัญลักษณ์อื่น ๆ  ซึ่งจะถูกแปลงเป็นเคลื่อนสัญญาณ (  Pulse )  ของกระแสไฟฟ้าหรือสัญญาณออกอื่น ๆ  ที่จะไปกระตุ้นมอเตอร์หรืออุปกรณ์อื่น ๆ เพื่อทำให้เครื่องจักรกลทำงานตามขั้นตอนที่ต้องการ เครื่องกลึง CNC เครื่องกลึง CNC คือ เครื่องกลึง CNC (Computer Numerical Control) คือเครื่องจักรกลอัตโนมัติที่ทำงานได้ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อทำการผลิตชิ้นส่วนวัสดุให้ได้ขนาดและรูปทรงตามที่ต้องการด้วยการกลึง เหมาะสำหรับงานกลึงที่ต้องการความละเอียดหรือมีความซับซ้อนสูง ยิ่งไปกว่านั้น เพราะการควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ทำให้เครื่องกลึง CNC สามารถก้าวข้ามขีดจำกัดของเครื่องจักรแบบเดิมๆ ได้ ทั้งความละเอียดในการควบคุมที่ละเอียดถึง 0.001 mm. รวมถึงสามารถควบคุมเครื่องกลึงได้หลายเครื่องในคราวเดียว ทำให้นอกจากความละเอียดแล้ว เรายังสามารถได้ชิ้นงานหลายชิ้นด้วยความรวดเร็

เทคโนโลยีการสื่อสาร

รูปภาพ
เทคโนโลยีการสื่อสาร  เทคโนโลยีการสื่อสาร   หมายถึง สิ่งที่มนุษย์พัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในการสื่อสารระหว่างกัน โดยการถ่ายทอด รับรู้ข่าวสารร่วมกัน ผ่านเครื่องมือเหล่านั้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องเป็น เครื่องมือ อุปกรณ์ เครื่องจักร วัสดุ เพียงอย่างเดียว อาจหมายรวมถึงกระบวนการต่าง ที่เกิดจากการประยุกต์ทางวิทยาศาสตร์ด้วย          การสื่อสารมีการพัฒนามาเรื่อยๆ จากภูมิปัญญาท้องถิ่น สู่เทคโนโลยีการสื่อสารในปัจจุบันซึ่งมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และแนวโน้มในการพัฒนาเทคโนโลยีการสื่อสารจะขยายออกไปเรื่อยๆ เป็นเครือข่ายการสื่อสารไร้สาย              เทคโนโลยีการสื่อสาร (Communication Technology)   คือเทคโนโลยีดิจิตัล  (Digital Technology) ประเภทหนึ่งซึ่งได้พัฒนาตัวเพื่อเอื้อต่อการจัดการ  “การสื่อสาร (Communication) ” หรือ “การขนส่งข่าวสาร (Transfer of Information) ”    เทคโนโลยีการสื่อสาร  ไม่ว่าจะเป็นทางด้านภาพ (Image) เสียง (Voice)  หรือ ทางด้านข้อมูล (Data) ได้รับการพัฒนาจนมนุษย์ สามารถเชื่อมโยงติดต่อกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว  และเป็นเครือข่ายที่ติดต่อสื่อสารกันได้ทั่วโลก  เป็นยุคของสารสนเทศ (Information Age) และ

ประวัติส่วนตัว

รูปภาพ
 ประวัติส่วนตัว ชื่อ : ภานุ สุขสวัสดิ์ รหัส นศ. : 646715016 ชื่อเล่น : บิ๊ก T. 0940120741📞 ที่อยู่ : บ้านเลขที่ 32/1 หมู่3  ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ จ.สงขลา 90110 🏠 ประวัติการศึกษา : วิทลัยเทคนิคหาดใหญ่ ระดับ (ปวช.) 1-3 ตั้งแต่2559 –2561  วิทลัยเทคนิคหาดใหญ่ ระดับ (ปวส.) 1-2 ตั้งแต่ 2562-2564 ประวัติครอบครัว : บิดา/ชื่อ นาย หิรัญ สุขสวัสดิ์ มารดา/ชื่อ นางธิดา สุขสวัสดิ์ มีพี่น้องร่วมบิดามารดา 2 คน เป็นบุตรคนที่ 2 สิ่งที่ชอบ : ชอบเล่นเกมในคอมพิวเตอร์และมือถือ คติประจำตัว : ทำทุกอย่างให้เต็มความสามรถ  อาหารจานโปรด : แกงพะแนง แกงจืดหมูสับ